หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเป็นผู้สูงอายุ ดร.สมัย เหมมั่น ให้แนวคิด



จิตวิทยาพัฒนาการวัยผู้สูงอายุ

por Mind Map: จิตวิทยาพัฒนาการวัยผู้สูงอายุ

1. ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ

1.1. เรื่องค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล อาจทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกสูญเสียความมีคุณค่าของตนเอง

2. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเป็นผู้สูงอายุ

2.1. จากอายุจริงที่ปรากฏ

2.1.1. เป็นไปตามอายุขัยของมนุษย์ ดูที่จำนวนปีหรืออายุที่ปรากฏจริง

2.2. จากลักษณะการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย

2.2.1. ดูได้จากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายที่เกิดขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงจะเพิ่มมากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี

2.3. จากลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ

2.3.1. รวมไปถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญาด้วย โดยมีการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่ของการรับรู้ ระบบความจำ การเรียนรู้ ความคิด ตลอดจนบุคลิกภาพต่าง ๆ เป็นต้น

2.4. จากลักษณะบทบาททางสังคม

2.4.1. จะมีการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ สถานภาพของบุคคลในระบบสังคม รวมไปถึงครอบครัว เพื่อนฝูง เป็นต้น

3. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ

3.1. ทฤษฎีเซลล์ ( Cellular theories )

3.2. ทฤษฎีอนุมูลอิสระ ( The free rsdicals theory )

3.3. ทฤษฎีบุคคล ( Organismic and systemic theories )

3.4. ทฤษฎีโมเลกุล ( Molecular theories )

3.4.1. ทฤษฎีว่าด้วยพันธุกรรม ( Genetic Theory )

3.4.2. ทฤษฎีการกลายพันธุ์ ( Somatic mutation theory )

3.4.3. ทฤษฎีความผิดพลาด ( Error catatrophe)

3.4.4. ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงการจับตัวของโปรตีนกับ DNA

4. พัฒนาการด้านต่างๆ

4.1. พัฒนาการด้านร่างกาย

4.2. พัฒนาการทางด้านสังคม

4.3. พัฒนาการทางด้านสติปัญญา

4.4. พัฒนาการทางด้านอารมณ์

5. ปัญหาในวัยสูงอายุที่พบบ่อย

5.1. ปัญหาด้านสุขภาพกาย

5.1.1. การปัสสาวะไม่ออก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่หรือปัสสาวะเล็ด

5.1.2. อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ภาวะกระดูกผุ

5.1.3. หูมีการได้ยินลดลง เกิดตาต้อกระจก ปัญหาสายตายาว

5.2. ปัญหาสุขภาพจิต

5.2.1. จากปัญหาสุขภาพกายต่างๆ ทำให้มีสุขภาพจิตที่อ่อนเเอ

5.3. ปัญหาสมาชิกในครอบครัวต่อผู้สูงอายุ

5.3.1. ถูกทอดทิ้ง


 

ความคิดเห็น

  1. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเป็นผู้สูงอายุ ดร.สมัย เหมมั่น ให้แนวคิด
    nationu.blogspot.com
    จิตวิทยาพัฒนาการวัยผู้สูงอายุ por Inthira Rattanachuwong 1. ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ 1.1. เรื่องค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล อาจทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกสูญเสียความมีคุณค่าของตนเอง 2. หลัก

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น