ผม ดร.สมัย เหมมั่น ผมใส่ใจกับ ผู้สูงอายุที่ปวยเป็น โรคร้ายในวัยสูงอายุ และเราควรหาวิธีการแก้ไขและช่วยเหลือเค้า
ผม ดร.สมัย เหมมั่น
ผมใส่ใจกับ ผู้สูงอายุที่ปวยเป็น โรคร้ายในวัยสูงอายุ และเราควรหาวิธีการแก้ไขและช่วยเหลือเค้า
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
เป็นการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ที่พบบ่อยมีความคิดฟุ้งซ่าน ชอบอยู่คนเดียวตามลำพัง ว้าเหว่ หงุดหงิด ใจคอแห้งเหี่ยว เอาแต่ใจตนเอง รู้สึกว่าตนเองเป็นคนไร้ค่า อาจมีอาการทางกาย เช่น นอนไม่หลับตื่นเช้าผิดปกติ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ไม่สดชื่น ไม่สนใจ ดูแลตนเอง ไม่มีสมาธิ ชอบพูดเรื่องเศร้า เบื่ออาหารบางรายที่มีอารมณ์เศร้ามาก ๆ อาจมีความคิด ทำร้ายตนเองได้การช่วยเหลือ เนื่องจากอาการซึมเศร้าเกิดได้จากทั้งมีปัญหาด้านจิต สังคมและเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในสมอง ดังนั้นการรักษาโรคซึมเศร้าที่ดีที่สุดคือการรักษาทางการแพทย์ร่วมกับการรักษาทางจิตใจ
การรักษาทางการแพทย์ ประกอบด้วย การให้ยาต้านเศร้า การรักษาด้วยไฟฟ้า (ในรายที่มีอาการรุนแรง) การให้ยาโรคจิต (กรณีมีประสาท หลงผิดร่วมด้วย) ส่วนการรักษาทางจิตใจได้แก่ จิตบำบัด การให้ตำปรึกษาแก้ไขปัญหาสังคม จิตใจ และการเรียนรู้ทักษะจัดการความเครียด
สำหรับอาการซึมเศร้าระดับน้อย การออกกำลังกาย 30-45 นาที (เป็นแอโรบิกก็ยิ่งดี) อย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ จะช่วยให้ดีขึ้นได้ จากการวิจัยพบว่าได้ผลดีพอ ๆ กับการใช้ยาถ้าออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเป็นเวลานานพอ
หลีกเลี่ยงการอยู่คนเดียวเมื่อมีอารมณ์เศร้าเกิดขึ้นพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนอื่นทำกิจกรรมหรืออดิเรกที่พึงพอใจเป็นประโยชน์
หากพบมีภาวะซึมเศร้าจากการใช้แบบประเมินภาวะซึมเศร้าแบบ 2 คำถาม
ส่งต่อบุคลากรสาธารณสุขเพื่อประเมินซ้ำ และให้การช่วยเหลือต่อไป
ส่งต่อบุคลากรสาธารณสุขเพื่อประเมินซ้ำ และให้การช่วยเหลือต่อไป
ผม ดร.สมัย เหมมั่น ผมใส่ใจกับ ผู้สูงอายุที่ปวยเป็น โรคร้ายในวัยสูงอายุ และเราควรหาวิธีการแก้ไขและช่วยเหลือเค้า
ตอบลบnationu.blogspot.com
ผม ดร.สมัย เหมมั่น ผมใส่ใจกับ ผู้สูงอายุที่ปวยเป็น โรคร้ายในวัยสูงอายุ และเราควรหาวิธีการแก้ไขและช่วยเหลือเค้า โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ เป็นการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ที่พบบ่อยมีความคิด
ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผู้สูงอายุ และการพัฒนา senior Complex สำหรับผู้สูงอายุการสร้างมาตรฐานการเป็นอยู่ของผู้สูงอายุในประเทศไทยตลอดจนโมเดลโครงงานการส่งเสริมการพัฒนาที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและพระราชบัญญัติการก่อสร้างอาคารเกี่ยวเนื่องกับผู้สูงอายุ และโครงงานการพัฒนาร่วมกับกระทรวงทบวงกรมที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี และกิจกรรมอีกมากมาย อาทิเช่นโครงการอบรมให้ความรู้กับผู้สูงอายุเพื่อพักฟื้นฟื้นฟู ชีวิต ที่มีคุณภาพในการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุ โครงการการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุโครงการส่งเสริมอนามัยและสุขภาพของผู้สูงอายุโครงการส่งเสริมอาชีพให้กับผู้สูงอายุและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ จากผลงานผู้สูงอายุพร้อมกับการแชร์ประสบการณ์ที่ดีของผู้สูงอายุซึ่งเป็นบรมครู จะเผยแพร่ข้อมูลผ่าน senior Complex ไทย และเว็บไซต์ Blogspot ของผม จิตวิทยาพัฒนาการวัยผู้สูงอายุ ที่ควรรู้
ตอบลบnationu.blogspot.com
จิตวิทยาพัฒนาการวัยผู้สูงอายุ por Inthira Rattanachuwong 04/27/2015 Created with Raphaël 2.2.0 จิตวิทยาพัฒนาการวัยผู้สูงอายุ ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ เรื่องค่าใช้จ่ายในการรักษา